การผลิตงานกราฟิก
วัสดุที่ใช้ในการผลิตงานกราฟิก
1. กระดาษ
- กระดาษโปสเตอร์ เป็นกระดาษพื้นสีที่มีเยื่อกระดาษไม่เหนียวมากเท่าที่ควร.- กระดาษหน้าขาวหลังเทา เหมาะกับการทำบัตรคำ แผนภูมิ แผนภาพ พื้นภาพผนึกกล่องที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก.- กระดาษวาดเขียน เป็นกระดาษที่มีความหนาหลายขนาด เช่น 30 ปอนด์ 100 ปอนด์ เยื่อกระดาษไม่แน่นทำให้ดูดซับน้ำได้ดี
- กระดาษชาร์ทสี เป็นกระดาษที่มีผิวมันเรียบ เยื่อกระดาษแน่นเหนียวกว่ากระดาษโปสเตอร์และกระดาษวาดเขียน
1. กระดาษ
- กระดาษโปสเตอร์ เป็นกระดาษพื้นสีที่มีเยื่อกระดาษไม่เหนียวมากเท่าที่ควร.- กระดาษหน้าขาวหลังเทา เหมาะกับการทำบัตรคำ แผนภูมิ แผนภาพ พื้นภาพผนึกกล่องที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก.- กระดาษวาดเขียน เป็นกระดาษที่มีความหนาหลายขนาด เช่น 30 ปอนด์ 100 ปอนด์ เยื่อกระดาษไม่แน่นทำให้ดูดซับน้ำได้ดี
- กระดาษชาร์ทสี เป็นกระดาษที่มีผิวมันเรียบ เยื่อกระดาษแน่นเหนียวกว่ากระดาษโปสเตอร์และกระดาษวาดเขียน
- กระดาษอาร์ตมัน เป็นกระดาษที่มีผิวมัน
เยื่อแน่นเหนียว ไม่ค่อยดูดซับน้ำ พื้นสีขาว ความหนามีหลายขนาด
- กระดาษปอนด์ เป็นกระดาษชนิดบาง ไม่แน่น มีสีขาว
- กระดาษลูกฟูก เป็นกระดาษที่มีลักษณะหนามาก โครงสร้างตรงกลางเป็นลูกฟูกประกบด้านหน้าและหลังด้วยกระดาษผิวเรียบ
2. สี
- สีเชื้อน้ำ เป็นสีที่ใช้น้ำเป็นส่วนผสมและล้างทำความสะอาด
- สีน้ำ ใช้ระบายภาพบนกระดาษสีขาวหรือกระดาษวาดเขียนเท่านั้น
- กระดาษปอนด์ เป็นกระดาษชนิดบาง ไม่แน่น มีสีขาว
- กระดาษลูกฟูก เป็นกระดาษที่มีลักษณะหนามาก โครงสร้างตรงกลางเป็นลูกฟูกประกบด้านหน้าและหลังด้วยกระดาษผิวเรียบ
2. สี
- สีเชื้อน้ำ เป็นสีที่ใช้น้ำเป็นส่วนผสมและล้างทำความสะอาด
- สีน้ำ ใช้ระบายภาพบนกระดาษสีขาวหรือกระดาษวาดเขียนเท่านั้น
- สีโปสเตอร์ ใช้เขียนบัตรคำ
สื่อโปสเตอร์ ภาพประกอบ แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ
3. วัสดุขีดเขียน
3. วัสดุขีดเขียน
- ปากกาเขียนแบบ
เป็นปากกาคุณภาพดี มีหลายขนาด ตั้งแต่เส้นเล็กมากจนถึงเส้นใหญ่มาก ใช้กับหมึกที่มีความเข้มข้นกว่าหมึกทั่วๆไป
- ปากกาเขียนทั่วไป มีทั้งหมึกน้ำและหมึกเหลวหรือที่เรียกว่า ปากกาลูกลื่น ใช้ในการจดบันทึกและเขียนภาพลายเส้น
- ตัวอักษร HB เป็นดินสอที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ไส้ดินสอมีความแข็งและความเข้มปานกลาง
- พู่กัน มี 2 แบบ คือ พู่กันกลม ใช้ในการวาดภาพระบายสี ขนปลายพู่กันอ่อนนิ่มมีหลายขนาด ซึ่งกำหนดเป็นเบอร์ 0, 1, 2,3,4,5..., 12 และพู่กันแบน มีด้ามยาวใช้ในการเขียนตัวอักษร บางชนิดมีขนพู่กันอ่อน เหมาะกับการเขียนตัวอักษรโปสเตอร์ผ้าหรือไม้อัด
ภาพการ์ตูน
หมายถึง ภาพลายเส้นหรือภาพวาดที่มีลักษณะผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง แต่ก็ยังยึดหลักเกณฑ์ของความจริงงอยู่บ้าง เขียนขึ้นมาเพื่อการสื่อความหมาย มุ่งให้เกิดอารมณ์ขันด้วยการล้อเลียน เสียดสี ประชดประชัน
เทคนิคการเขียนภาพการ์ตูน
1. การเขียนภาพการ์ตูนลายเส้นธรรมดา มุ่งเน้นให้เกิดอารมณ์ตลกขบขัน จากการบิดเบี้ยวของเส้นและสี ไม่เน้นสัดส่วนความเหมือนจริงตามธรรมชาติ ควรคำนึงถึงปัจจัยสำคัญ คือ
1.1 ความเชื่อมั่นในตนเอง
1.2 วัสดุเขียน
1.3 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเส้น
1.4 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับธรรมชาติขิงการเรียนรู้- ปากกาเขียนทั่วไป มีทั้งหมึกน้ำและหมึกเหลวหรือที่เรียกว่า ปากกาลูกลื่น ใช้ในการจดบันทึกและเขียนภาพลายเส้น
- ตัวอักษร HB เป็นดินสอที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ไส้ดินสอมีความแข็งและความเข้มปานกลาง
- พู่กัน มี 2 แบบ คือ พู่กันกลม ใช้ในการวาดภาพระบายสี ขนปลายพู่กันอ่อนนิ่มมีหลายขนาด ซึ่งกำหนดเป็นเบอร์ 0, 1, 2,3,4,5..., 12 และพู่กันแบน มีด้ามยาวใช้ในการเขียนตัวอักษร บางชนิดมีขนพู่กันอ่อน เหมาะกับการเขียนตัวอักษรโปสเตอร์ผ้าหรือไม้อัด
ภาพการ์ตูน
หมายถึง ภาพลายเส้นหรือภาพวาดที่มีลักษณะผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง แต่ก็ยังยึดหลักเกณฑ์ของความจริงงอยู่บ้าง เขียนขึ้นมาเพื่อการสื่อความหมาย มุ่งให้เกิดอารมณ์ขันด้วยการล้อเลียน เสียดสี ประชดประชัน
เทคนิคการเขียนภาพการ์ตูน
1. การเขียนภาพการ์ตูนลายเส้นธรรมดา มุ่งเน้นให้เกิดอารมณ์ตลกขบขัน จากการบิดเบี้ยวของเส้นและสี ไม่เน้นสัดส่วนความเหมือนจริงตามธรรมชาติ ควรคำนึงถึงปัจจัยสำคัญ คือ
1.1 ความเชื่อมั่นในตนเอง
1.2 วัสดุเขียน
1.3 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเส้น
1.5 การ์ตูนแสดงพฤติกรรมได้ 2 ส่วน คือ ส่วนใบหน้าและลำตัว ส่วนใบหน้าสื่อความหมายเพื่อแสดงอารมณ์ เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธ ตกใจ และลำตัวแสดงอารมณ์กิริยา ท่าทาง เช่น เดิน นอน วิ่ง กระโดด เล่นกีฬา ท่าทางการแบกหาม
2. การวาดภาพการ์ตูนเรื่อง
2.1 ให้ผู้เรียนศึกษาภาพการ์ตูนหลายๆภาพจากแหล่งต่างๆ
2.2 การจัดภาพการ์ตูนให้เป็นเรื่องเป็นราว
ประโยชน์ของการเขียนภาพการ์ตูน
1. ด้านร่างกาย กิจกรรมการเขียนภาพการ์ตูนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและประสาทตาได้เป็นอย่างดี
2. ด้านอารมณ์ กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้มีบรรยากาศแห่งความสำเร็จ ย่อมส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ อารมณ์ดี จิตใจผ่องใส
3. ด้านสังคม ผู้เรียนมีโอกาสแสดงออก ช่วยกันสรุปประเด็นต่างๆ เป็นการส่งเสริมด้านพัฒนาการทางสังคมไปในตัว
4. ด้านสติปัญญา เริ่มตั้งแต่การรู้จักสังเกต ความเข้าใจเนื้อหาบทเรียน การเรียนรู้องค์ประกอบสำคัญและวิธีวาดรูปให้มีประสิทธิภาพ
ตัวอักษร
1. การประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยมือโดยตรง
1.1 การประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยพู่กันกลม
1.2 ขั้นตอนการเขียนตัวอักษรด้วยพู่กันแบน
1.3 การประดิษฐ์ตัวอักษรหัวเรื่อง
- แบบเส้นคู่ขนาน มีขั้นตอนการทำอย่างง่ายๆโดยการลากเส้นแกนเป็นข้อความด้วย ตัวอักษรธรรมดาให้มีขนาดใหญ่ และช่องไฟห่างกว่าปกติ มากๆ เสร็จแล้วลากเส้นขนานเส้นแกนตลอกแนวตัวอักษรแต่ละตัวจนครบถ้วน ตกแต่งให้สวยงาม
- แบบบรรทัด 6 เส้น
ขั้นที่ 1 ขีดเส้นตรงบรรทัด 6 เส้น
ขั้นที่ 2 ร่างแบบตัวอักษรคร่าวๆ
ขั้นที่ 3 เขียนตัวอักษรให้ชัดขึ้น ขั้นที่ 4 ตกแต่งตัวอักษรให้สวยงาม
การประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยมือ
1. เท็มเพลท เป็นแบบตัวอักษรที่เจาะทะลุเป็นตัวๆบนแผ่นพลาสติกบางๆ ใช้ดินสอร่างตามแบบ
2. ตัวอักษรลีรอย เป็นร่องตัวอักษรบนไม้บรรทัด
3. ตัวอักษรลอก เป็นตัวอักษรบนแผ่นพลาสติก มีหลายแบบหลายขนาด สามารถลอกติดกระดาษได้อย่างง่ายดาย
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการใช้งานทุกสาขาอาชีพ โดยเฉพาะการออกแบบกราฟิก คอมพิวเตอร์สามารถตอบสนองจินตนาการ หรือความคิดสร้างสรรค์ของนักออกแบบได้อย่างไร้ขีดจำกัด